งานวิชาการ
ประเด็นพิจารณาที่ 1.8 การนิเทศติดตาม ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
ตัวชี้วัด | ร่องรอยหลักฐาน | |
การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม | 1. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ /มาตรฐาน และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลาง และการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม | หลักสูตรเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) |
2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ หรือวิธีการสอนที่อื่นที่พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบของผู้เรียน | แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) | |
3. มีการวัดและประเมินตามสภาพจริง และมีความหลากหลาย | ผลงานนักเรียน | |
4. มีการบูรณาการชิ้นงาน / ภาระงานภายในสาระวิชา หรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ | ผลงานนักเรียน | |
5. ใช้สื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | ผลงานนักเรียน | |
6. มีหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม | หน่วยการเรียนรู้รายวิชาเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) | |
7. มีแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม | แผนการเรียนรู้รายวิชาเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) | |
8. มีการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ด้วย เช่น ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยี เป็นต้น | ผลงานนักเรียน | |
9. มีผลงานนักเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | ผลงานนักเรียน | |
การพัฒนาการอ่าน เขียนวิเคราะห์ภาษาไทย | การพัฒนาการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ภาษาไทย | |
1. ใช้เครื่องมือการคัดกรองที่มีความหลายหลาย เช่น เครื่องมือการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของสถาบันภาษาไทย หรือที่โรงเรียนจัดสร้างขึ้น เพื่อดำเนินการประเมินการอ่าน การเขียนการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น | 1. ดำเนินการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ตามแนวทางของสถาบันภาษาไทย (คำสั่งโรงเรียน, บันทึกรายงานผลการคัดกรอง, ภาพการดำเนินการ) 2. จัดทำโครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง (ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความโดยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น, บทอ่าน, เกณฑ์การประเมิน, ผลการประเมิน, ภาพสมุดบันทึกการอ่าน) 3. จัดทำโครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงของนักเรียน (แบบประเมินการอ่านออกเสียงของนักเรียนเป็นรายบุคคล, รายงานวิจัยในชั้นเรียน, PLC) |
|
2. วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ เพื่อเป็นข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้นเป็นรายบุคคล | 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง 2. โครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน |
|
3. จัดทำแผนพัฒนาและซ่อมเสริมที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล | 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง 2. โครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน |
|
4. การจัดทำโครงการกิจกรรมเพื่อแก้ไข/พัฒนาการอ่าน เขียน การคิดวิเคราะห์ภาษาไทย | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
5. ประสานความร่วมมือระหว่างครูภาษาไทยและครูสอนกลุ่มสาระอื่น เพื่อแก้ปัญหาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
6. ดำเนินการส่งสริมกระบวนการการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนในด้านการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น | 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง 2. แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการโครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง |
|
7. ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุน ในด้านการพัฒนาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น เช่น กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ เป็นต้น | 1. กิจกรรมวันสุนทรภู่และวันภาษาไทยแห่งชาติ (คำสั่ง, ภาพกิจกรรม) 2. กิจกรรมเปิดบ้านการศึกษา บดินทรเดชาวิชาการ (ภาพกิจกรรม) |
|
8. มีระบบการจัดทำสรุปงานเอกสาร โครงการอย่างเป็นระบบ เพื่อการเผยแพร่ | บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 | |
การดำเนินการเตรียมรับการประเมินผล PISA | ||
9.การเตรียมความพร้อม จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินการเตรียมความพร้อมนักเรียน เพื่อเตรียมรับการประเมิน ตามแนวทางการสอบ PISA | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
10. ศึกษาผลการประเมิน PISA ในรอบที่ผ่านมา เพื่อนำผลมาพัฒนาปรับปรุง | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
11. วางแผนปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการทดสอบตามแนวทางการทดสอบ PISA | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
12. จัดกิจกรรมกระตุ้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการประเมินผลนักเรียน ตามแนวทางการทดสอบ (PISA) | โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง | |
การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) และ STEM ของผู้เรียน | ระบบการบริหารจัดการด้านโค้ดดิ้ง (Coding) | |
1. วางแผนพัฒนามาตฐานการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) | 1. หลักสูตรสถานศึกษา 2. ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด 3. บัญชีสาระและคำอธิบายรายวิชาสาขาเทคโนโลยี |
|
2. พัฒนาและส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) | 1. หลักสูตรสถานศึกษา 2. ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด 3. บัญชีสาระและคำอธิบายรายวิชาสาขาเทคโนโลยี 4. แผนการจัดการเรียนรู้ 5. ภาพถ่าย |
|
3. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ของครูหรือบุคลากรในสถานศึกษา | 1. แบบประเมินการนิเทศการเรียนการสอน 2. ภาพบรรยากศการนิเทศการเรียนการสอน 3. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยีเทียบกับค่าเป้าหมายของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
|
4. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรในสถาน ศึกษาให้มีความรู้ด้านโค้ดดิ้ง(Coding) หรือด้านอื่น ๆ ที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษา คอมพิวเตอร์(Coding) ของผู้เรียน | 1. การเข้าร่วมอบรมพัฒนาครู 2. เกียรติบัตร |
|
5. สร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ระหว่างโรงเรียน ชุมชนหรือหน่วยงานอื่น ๆ | 1. เกียรติบัตร-ภาพการจัดอบรมครูเทคโนโลยี โรงเรียนวิทยาศาสตร์พลังสิบ เครือข่ายกรุงเทพมหานคร 2. เกียรติบัตร-ภาพการจัดอบรมสร้างเครือข่ายบุคลากรทางการศึกษาด้านหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3. โครงการ Robotics, AI, and Coding: RAC ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 4. เกียรติบัตร-ภาพSamsung Innovation Campus – Data Science 5. รายงานการฝึกปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และพบนักวิจัย |
|
6. สร้างและนำนวัตกรรมด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา | 1. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานด้วยสถานการณ์ในชีวิตประจําวัน เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคํานวณ 2. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการจําคําศัพท์โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง คําศัพท์ในเว็บไซต์ Construct 3 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี3 รหัสวิชา ว23184 โดยใช้วิธีการตรวจสอบงานผ่านระบบออนไลน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง แก้ปัญหาผู้เรียนที่ขาดทักษะในการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษา google app script ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาวิทยาการคํานวณ 1 รหัสวิชา ว30181 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 5. รายงานการประเมินทักษะดิจิทัล ปีการศึกษา 2563 2564 และ 2565 |
|
7. เกิดผลงานดีเด่นด้านโค้ดดิ้ง(Coding) ของครูหรือนักเรียน เช่น ผลงานระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับชาติ/นานาชาติ และมีการเผยแพร่ | 1. รางวัลนักเรียน 2. รางวัลครู |
|
การพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) | ||
1. โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ประเภท 1.1 แบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ (Unplugged Coding) |
1. ภาพกิจกรรม bomber man ค่ายวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 2. ภาพกิจกรรม human machine วิชาปฏิบัติการวิทยาศาสตร์พลังสิบ 1 |
|
1.2 แบบใช้คอมพิวเตอร์ (plugged Coding) | ประมวลภาพการเรียนการสอนโค้ดดิ้งแบบใช้คอมพิวเตอร์ | |
2. จัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง Coding) ที่มีองค์ประกอบครบถ้วน | 1. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การสร้างตัวแปรใน Python วิชาวิทยาการคำนวณ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ วิชาวิทยาการคำนวณ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง วิชาวิทยาการคำนวณ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา วิชาวิทยาการคำนวณ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เซ็นเซอร์ตรวจจับเสียง วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 6. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง วิชาวิทยาการคำนวณ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 |
|
3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ/เทคนิคการจัดการเรียนรู้ ที่ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน เช่น การจัดการข้อมูล การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบเป็นขั้นตอน เหตุผลเชิงตรรกะ แนวคิดเขิงคำนวณ | ประมวลภาพการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย | |
4. ออกแบบการวัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด | เครื่องมือการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย | |
5. เป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) ด้านโค้ดดิ้ง(Coding) ภายในโรงเรียน การเผยแพร่ผลงานภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียน ชุมชนหรือหน่วยงานอื่น ๆ ภายใน สพม.กท 2 หรือ สำนักงานเขตพื้นที่อื่น | การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) – ตัวอย่าง PLC |
|
6. พัฒนาตนเองด้าน Coding เช่น การเข้าร่วมอบรมพัฒนาด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ในรูปแบบออนไลน์หรือออนไซต์ | ข้อมูลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาครู | |
การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์สู่ Soft Power | 1. โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | |
2. โรงเรียนเปิดแผนการเรียนด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | ||
3. โรงเรียนมีการบูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม | แผนการจัดการเรียนรู้ | |
4. โรงเรียนมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ | |
5. ครูผู้สอนจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม | หน่วยการเรียนรู้ | |
6. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม | แผนการจัดการเรียนรู้ | |
7. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning โดยบูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | แผนการจัดการเรียนรู้ | |
8. ครูผู้สอนมีการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรมการสอนด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | สื่อ และนวัตกรรมการสอน | |
9. ครูผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power | ผลงานนักเรียน | |
การส่งเสริมพหุปัญญาด้านกีฬา | – รายชื่อกิจกรรมชุมนุม – ข้อมูลครูและบุคลากร กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา – ภาพผลงานและรางวัล |
|
การขับเคลื่อนกิจกรรม / โครงการพระบรมราโชบาย รัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ | ด้านการบริหารโรงเรียน | |
1. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมืองสู่การบริหารจัดการโรงเรียน | – แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปีงบประมาณ 2566-2568 – การดำเนินงาน โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. – ประกาศโรงเรียน เรื่อง ประกาศเจตนารมณ์คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. – ตัวอย่างกิจกรรม – ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ |
|
2. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรมสู่การบริหารจัดการโรงเรียน | ||
3. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีงานทำ – มีอาชีพ สู่การบริหารจัดการโรงเรียน | ||
4. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการเป็นพลเมืองดี สู่การบริหารจัดการโรงเรียน | ||
5. ผู้บริหารมีนวัตกรรม / โครงการ การปฏิบัติที่เป็นเลิศเรื่อง การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ | ||
ด้านการจัดการเรียนการสอน | ||
6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับวิถีคนดี – มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง | – แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปีงบประมาณ 2566-2568 – การดำเนินงาน โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. – ประกาศโรงเรียน เรื่อง ประกาศเจตนารมณ์คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. – ตัวอย่างกิจกรรม – ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ |
|
7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับการมีคุณธรรมนำชีวิต – มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม | ||
8. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับ 1 ห้องเรียน 1 อาชีพ – มีงานทำ – มีอาชีพ | ||
9. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับจิตอาสาด้วยใจ – การเป็นพลเมืองดี | ||
10. การบูรณาการพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ด้านการศึกษาทั้ง 4 ด้าน ในการจัดการเรียนการสอน เช่น บูรณาการในโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนสุจริต และหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เป็นต้น | ||
11. ครูผู้สอนมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ 10 ในการจัดการเรียนการสอน | ||
การดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 |
1. แต่งตั้งและกำหนดบทบาทผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา | – ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน – คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน – คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน – คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน – คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา – คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน – คำสั่งแต่งตั้งและมอบหมายให้ข้าราชการครูและลูกจ้างปฏิบัติหน้าที่ในส่วนงานทะเบียน/งานวัดผล |
2. จัดประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ เพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน | – จัดประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน – จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน – จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน – จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา – จัดประชุมคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน – จัดประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวกับงานวัดและประเมินผลของสถานศึกษา |
|
3. จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ | – ขออนุมัติใช้ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) พุทธศักราช 2566 – ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) พุทธศักราช 2566 |
|
4. กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายภาคของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ | แบบรายงานข้อมูลรายวิชาที่เปิดสอน | |
5. กำหนดแบบฟอร์ม “แผนการวัดและประเมินผล” เพื่อให้ครูผู้สอนนำไปใช้ออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน | แบบฟอร์มหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้ | |
6. จัดทำคู่มือหรือแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละองค์ประกอบ | – คู่มือหรือแนวทางการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ – คู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ – คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน – คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ – คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน |
|
7. จัดทำหลักฐานร่อยรอยที่แสดงถึงการปฏิบัติหน้าที่ของผู้รับผิดชอบในการดำเนินการ | – จัดทำแนวปฏิบัติด้านการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา (1) แนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริมระหว่างเรียน กรณีผู้เรียนมีผลการประเมินตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด (2) แนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีผลการเรียน 0 ร หรือ มส (3) แนวปฏิบัติในการอนุมัติผลการเรียน (4) แนวปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน – จัดทำเอกสารหลักฐานร่องรอยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
|
8. เชื่อมโยงการวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษาสู่การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน | – จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินการวัดและประเมินผลให้ครูผู้สอนรับทราบและถือปฏิบัติ (1) การดำเนินงานตามนโยบายหรือจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัดและของสถานศึกษา (2) การดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์คุณภาพหรือค่าเป้าหมายของสถานศึกษา (3) การดำเนินการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนตามระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา (4) การดำเนินการตามคู่มือหรือแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละองค์ประกอบ (5) การดำเนินงานตามแนวปฏิบัติหรือปฏิทินที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา – กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานด้าน การวัดและประเมินผลของสถานศึกษาที่ครูผู้สอนต้องดำเนินการ (1) ปฏิทินการส่งแผนการวัดและประเมินผลในแต่ละรายวิชา (2) ปฏิทินการกรอกคะแนนผ่านระบบ SGS หรือการส่งแบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา (3) ปฏิทินการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว (4) ปฏิทินการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อื่น ๆ |
|
9. วิเคราะห์และใช้ผลการประเมินทุกด้านเป็นข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพผู้เรียน | – รวบรวมผลการประเมินระดับชั้นเรียนเพื่อสรุปเป็นผลการประเมินระดับสถานศึกษา – พิจารณาตัดสินผลการประเมินรายภาค และการจบการศึกษาแต่ละระดับ – นำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนไปใช้เป็นข้อมูลในการทบทวนการดำเนินงาน และการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา |
|
10. สื่อสารให้ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน | – รายงานผลการเรียนในเอกสารหลักฐานการศึกษา (1) ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) (2) ประกาศนียบัตร (ปพ.2) (3) แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3) (4) แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา หรือการรายงานผลการเรียนผ่านระบบ SGS (5) แบบรายงานประจำตัวนักเรียน (สมุดพก) – รายงานคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ (1) รายงานการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) (2) รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (3) วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา (4) การประชุมผู้ปกครองหรือการประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง (5) การให้ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา – เว็บไซต์โรงเรียน – เว็บไซต์สารสนเทศทะเบียนวัดผล |
|
การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศของครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน | ตอนที่ 1 กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนภาษาต่างประเทศ | |
1. มีแผนพัฒนาการขับเคลื่อนงานตามนโยบายการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
2. วางแผนดำเนินงานในการเผยแพร่ความรู้ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเน้นให้เห็นความสำคัญของ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) | การจัดอบรม/การเข้ารับการอบรม | |
3. ดำเนินการตามแผนโดยใช้มาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) เป็นกรอบกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ มีแผนงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพตามนโยบายที่สอดคล้องกับปัญหา หรือจุดพัฒนาที่ได้รับการวิเคราะห์ | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
4. สนับสนุน และให้ความร่วมมือในการจัดครูผู้สอนภาษาต่างประเทศเข้ารับการทดสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา (CEFR) | การอบรมและการจัดสอบ CEFR | |
5. จัดสภาพแวดล้อม กิจกรรมด้านภาษาอังกฤษ และกระตุ้นให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางด้านภาษา | ศูนย์ภาษาอังกฤษ อุปกรณ์โสตฯ | |
6. สนับสนุนให้ครูผู้สอนภาษาพัฒนาตนเองในรูปแบบวิธีการต่าง ๆ จัดหาอุปกรณ์ สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกในการอบรมตามความเหมาะสม | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
7. จัดทำแผนพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษโดยใช้ฐานข้อมูลจากการประเมินความสามารถด้านภาษาในการยกระดับครูทั้งระบบ | วิสัยทัศน์ / พันธกิจของโรงเรียน / โครงการ / กิจกรรม | |
8. จัดให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ที่สอดคล้องกับระดับผล การประเมินความสามารถ และตามรูปแบบการอบรมที่สอดคล้องกับความถนัด | แผนพัฒนาตนเองของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ | |
9. กำกับติดตามการประเมินตนเอง / ความก้าวหน้าด้านทักษะภาษาอังกฤษ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ | การสอบ CEFR | |
10. ให้ขวัญกำลังใจแก่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่มี ผลการประเมินทักษะภาษาอังกฤษ หรือการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร | รางวัล / เกียรติบัตร | |
ตอนที่ 2 กระบวนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน | ||
1. ประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจตระหนักแก่ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึงการปรับเปลี่ยนการสอนภาษาจากการเน้นไวยากรณ์เป็นการเน้นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร | การประชุมคณะทำงานกลุ่มบริหารวิชาการ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ | |
2. บริหารจัดการหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นในด้านโครงสร้าง เวลาเรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเรียนภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศตามระดับความสามารถ | หลักสูตรของสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม (รายวิชาภาษาอังกฤษฟัง-พูด, ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) | |
3. วิเคราะห์ แบบเรียน / สื่อ / แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในการพัฒนาทักษะทางภาษาตามมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) | ครูและนักเรียนร่วมกันผลิต สรรหา คัดเลือก แบบเรียน / สื่อตาม Core Curriculum และตามสภาพบริบทความพร้อมของผู้เรียน | |
4. จัดหาสื่อการเรียนรู้ สื่อการจัดการเรียน การสอน และสื่อฝึกทักษะทางภาษาที่เน้น การสื่อสารทักษะตามธรรมชาติการเรียนรู้ภาษาให้บริการแก่นักเรียน รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่มีคุณภาพสำหรับการเรียนรู้ | สื่อ Digital / e-book / learning application | |
5. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีทักษะการสร้าง และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียน การสอน และสนับสนุนให้ครูร่วมกับนักเรียนผลิตสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี | ห้องเรียน DLIT / การใช้เครือข่ายทางสังคม Social networks, Google Classroom | |
6. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศ กิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศที่สอง และกระตุ้นให้นักเรียนและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศ | การเข้าค่ายทางภาษา, Summer Course, การประกวดแข่งขันต่าง ๆ, ป้ายประชาสัมพันธ์, การเพิ่มกิจกรรมการอ่านในและนอกห้องเรียนด้วยเนื้อหาสาระที่หลากหลาย | |
7. สนับสนุน ส่งเสริม และจัดแข่งขันทักษะทางภาษา รวมทั้งการจัดบรรยากาศการใช้ภาษาต่างประเทศในสถานศึกษา | การแข่งขันทั้งภายใน และนอกสถานศึกษา | |
8. สนับสนุน ส่งเสริม ให้ผู้เรียนในระดับชั้นม.3 และ ม.6 เข้ารับการทดสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา (CEFR) | การสอบ CEFR ของผู้เรียนในระดับชั้นม.3 และ ม.6 | |
9. นิเทศ ติดตาม ความก้าวหน้าของครูในการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผลทางภาษาที่เน้นความสามารถในการสื่อสาร | การนิเทศการสอน | |
10. ส่งเสริมให้มีการวิจัย และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการวัดประเมินผลทางภาษาที่เน้นความสามารถในการสื่อสาร | งานวิจัยในชั้นเรียน | |
11. การยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ โครงการห้องเรียนพิเศษ IP / EP / MEP/ EBE/ EIS (ถ้ามี) | โครงการห้องเรียนพิเศษ English Program | |
การจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมในสถานศึกษา | 1. โรงเรียนได้บริหารจัดการการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมโดยใช้โครงสร้าง SEAT/SBM | รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ |
2. มีครูผ่านการอบรมคัดกรองสำหรับการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมอย่างน้อย 2 คน | รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ | |
3. โรงเรียนมีการคัดกรองนักเรียนเพื่อการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมทุกปีการศึกษา | รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ | |
4. นักเรียนกลุ่มพิเศษเรียนรวมทุกคนเข้าถึงบริการ การเรียนการสอนและสื่อทุกประเภทที่โรงเรียนจัดให้ | ||
5. โรงเรียนได้จัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวม | ||
6. ครูทุกคนที่สอนนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมได้จัดทำแผนการสอนเฉพาะบุคคล (Individual Implementation Plan : IIP) | ||
7. มีการจัดสรรงบประมาณที่โรงเรียนได้รับสนับสนุนเพียงพอ | ||
8. โรงเรียนได้จัดทำมาตรฐานการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา | ||
9. โรงเรียนมีบริการส่งต่อนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวม 9.1 เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 9.2 เพื่อประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ |
||
การพัฒนากระบวนการดำเนินการจัดกิจกรรมแนะแนว | 1. การบริการปรึกษาและข้อมูลเป็นรายบุคคล | |
1.1 การดำเนินการสำรวจข้อมูลเป็นรายบุคคล | ระเบียนสะสม (ปพ.8) | |
1.2 การศึกษาสำรวจและวิเคราะห์ปัญหานักเรียนรายกรณี | แบบบันทึกรายกรณี | |
1.3 การใช้เครื่องมือและวิธีต่าง ๆ ในการสำรวจข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล | – แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์(EQ) – แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) – แบบประเมินบุคลิกภาพ (MBTI) – แบบประเมินบุคลิกภาพกับอาชีพ (SDS) – แบบประเมินพหุปัญญา (MI) |
|
1.4 การรวบรวมข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนไว้ในระเบียนสะสม | ระเบียนสะสม (ปพ.8) | |
1.5 การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนทุกคนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ครูได้รู้จักนักเรียนดีขึ้น | ระเบียนสะสม (ปพ.8) | |
1.6 การจัดให้นักเรียนเขียนอัตชีวประวัติของตนเอง | ระเบียนสะสม (ปพ.8) | |
1.7 การจัดทำแบบทดสอบทางจิตวิทยาแก่ผู้เรียนในด้านต่าง ๆ | ระเบียนสะสม (ปพ.8) | |
1.8 การเยี่ยมบ้านและสัมภาษณ์สมาชิกในบ้านเพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนอย่างครบถ้วน | แบบรายงานการเยี่ยมบ้าน | |
2. การบริการสนเทศ | ||
2.1 การให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ที่จำเป็นเพื่อการตัดสินใจ | – บอร์ดสารสนเทศ – เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา |
|
2.2 การนำเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้ที่จำเป็นและเหมาะสมแก่นักเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รายการเสียงตามสายของโรงเรียน เป็นต้น | – บอร์ดสารสนเทศ – เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา |
|
2.3 การนำเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้ที่ให้เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการของนักเรียน | ||
2.4 การจัดมุมสนเทศ บริการข้อมูลทางการศึกษา อาชีพ ส่วนตัว และสังคมให้แก่นักเรียน | – บอร์ดสารสนเทศ – เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา |
|
2.5 การจัดป้ายสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่จำเป็นและทันสมัยแก่นักเรียน | – บอร์ดสารสนเทศ – เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา |
|
2.5 การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับโลกของงาน การรักษาสุขภาพ การศึกษาต่อ ฯลฯ | รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ | |
2.6 เชิญวิทยากร หรือผู้ประสบความสำเร็จในอาชีพต่าง ๆ มาให้ความรู้เกี่ยวกับนักเรียน | รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ | |
2.7 จัดทัศนศึกษาตามสถาบันการศึกษา และแหล่งเรียนรู้อาชีพ การร่วมจัดปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ เพื่อให้สามารถปรับตัวอยู่ในสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ ได้ | – รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ – รายงานการฝึกประสบการณ์ |
|
2.8 การจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศเพื่อให้นักเรียนได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาแด่คุณครู | รายงานการดำเนินพิธีมอบเกียรติบัตร ม.6 | |
3. การบริการให้คำปรึกษา | ||
3.1 การจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาแก่นักเรียนในช่องทางต่าง ๆ | ภาพประชาสัมพันธ์การให้คำปรึกษา | |
3.2 การสำรวจปัญหาเพื่อให้คำปรึกษา | แบบลงทะเบียนการขอรับบริการให้คำปรึกษา | |
3.3 การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.4 มีแบบบันทึกข้อมูลการให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่มแก่นักเรียน | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.5 สามารถพูดคุยให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.6 ให้การชี้แนะส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียนด้านการศึกษา ด้านการประกอบอาชีพ และปฏิบัติตนในสังคม | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.7 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.8 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน เพื่อร่วมมือแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.9 มีผลการดำเนินการตามขั้นตอน ระยะเวลาและวิธีการที่ใช้ในการบริการให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.10 การติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เคยให้คำปรึกษา | บันทึกข้อความการติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียน | |
3.11 มีผลการดำเนินการตามขั้นตอน ระยะเวลาและวิธีการที่ใช้ในการบริการให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล | รายงานผลการดำเนินกิจกรรมการให้คำปรึกษาตามรูปแบบ PDCA | |
3.12 สามารถพูดคุยให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.13 ให้การชี้แนะส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียนด้านการศึกษา ด้านการประกอบอาชีพ และปฏิบัติตนในสังคม | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.14 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
3.15 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน เพื่อร่วมมือแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายบุคคลการติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เคยให้คำปรึกษา | รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา | |
4. การบริการจัดวางตัวบุคคล | ||
4.1 การจัดบริการจัดทุนการศึกษาประเภทต่าง ๆ ให้นักเรียน | รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา | |
4.2 การพิจารณาคัดเลือกนักเรียนเข้ารับทุนการศึกษาการจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนตามความเหมาะสม | รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา | |
4.3 การจัดนักเรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความถนัดหรือที่สนใจ | –รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ –รายงานการฝึกประสบการณ์ |
|
4.4 การจัดบริการข้อมูลการศึกษาต่อแก่นักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้เลือกสาขาที่จะศึกษาต่อที่เหมาะสมกับความถนัดของนักเรียน | –รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ – รายงานผลการจัดกิจกรรมแนะแนวเตรียมความพร้อม ม.6 – ภาพศึกษาดูงาน Open house มหาวิทยาลัย |
|
4.5 การจัดส่งตัวนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพหรือมีความผิดปกติได้รับการบำบัดรักษา | บันทึกข้อความประสานความร่วมมือ | |
4.6 ส่งเสริมช่วยเหลือนักเรียนให้มีรายได้พิเศษระหว่างเรียน | กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง B.D. Sufficiency Economy Point | |
4.7 ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่นทำงานพิเศษ ระหว่างปิดภาคเรียน | -กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง B.D. Sufficiency Economy Point –รายงานการฝึกประสบการณ์ |
|
4.8 การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดวางตัวบุคคล | – รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา – กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) – รายงานการประชุมนักเรียนและผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ – รายงานการฝึกประสบการณ์ – รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ – ภาพการแนะแนวศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
|
5. การบริการติดตามและประเมินผล | ||
5.1 นำข้อมูลที่ได้จากการติดตามผลไปใช้ในการประเมินผลการให้บริการแนะแนวด้านต่าง ๆ | รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.6 | |
5.2 การติดตามผลนักเรียนที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน | หนังสือเเจ้งรับนักเรียนเข้าเรียนจากโรงเรียนปลายทาง | |
5.3 การติดตามผลนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา | รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.6 | |
5.4 การติดตามผลนักเรียนที่มารับบริการแนะแนวเป็นรายบุคคล | รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.3 และ ม.6 | |
5.5 ติดตามศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษามาแนะนำเกี่ยวกับวิธีการเรียนให้นักเรียนประสบความสำเร็จ | ภาพกิจกรรมพี่แนะแนวน้อง | |
5.6 การสอบถามความคิดเห็นของครูและนักเรียนเกี่ยวกับบริการแนะแนวต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น | รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว | |
5.7 การประเมินผลระหว่างดำเนินงานและการประเมินผลเมื่อการดำเนินงานสิ้นสุดลง | รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว | |
5.8 การประเมินผลการจัดบริการแนะแนวด้านต่าง ๆ เพื่อทำสถิติเปรียบเทียบและปรับปรุงเพื่อพัฒนางานแนะแนวต่อไป | รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว | |
5.9 จัดกล่องรับความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการแนะแนว | แบบรับความคิดเห็นรูปแบบ Online | |
5.10 นำผลการดำเนินการมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานต่อไป | รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว |
งานบุคคล
งานทั่วไป
งานงบประมาณ
ประเด็นการพิจารณา | หลักฐานอ้างอิง |
ประเด็นพิจารณาที่ 4.1 การบริหารทางการเงินให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงิน | 1. คำสั่งการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2. แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 3. รายงานการใช้งบประมาณตามแผนงบประมาณปี 2566 ไตรมาสที่ 1-2 4. รายงานการประเมินผลตามโครงการ/กิจกรรม |
ประเด็นพิจารณาที่ 4.2 การบริหารการเงินและบัญชี | 1. ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน 2. ทะเบียนคุมเงินประเภทต่าง ๆ 3. สมุดคุมเช็ค 4. สมุดเงินสด 5. รายงานเงินสดคงเหลือประจำวัน 6. รายงานงบเดือน 7. สมุดบันทึกรายรับ รายจ่าย ประจำวัน 8. อื่นๆ (ระบุ) – ทะเบียนคุมการนำส่งเงิน(นส01นส02-1) – ทะเบียนคุมการเบิกจ่าย(GFMIS) – ทะเบียนคุมเงินจ่ายทดรองราชการ – ทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ – ทะเบียนคุมเงินรายรับรายจ่ายแยกประเภท |
ประเด็นพิจารณาที่ 4.3 การบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ 4.3.1 การจัดซื้อ จัดจ้าง (หนังสือเรียน) |
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ – คำสั่งที่ 334/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566 – คำสั่งที่ 70/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง – คำสั่งที่ 85/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีคัดเลือก 2. ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย 3. รายงานการประชุม – รายงานผลการประชุมคณะกรรมการพิจารณาหนังสือเรียน – รายงานผลการประชุมคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย – รายงานผลการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. เอกสารหลักฐานอื่น ๆ – การเผยแพร่สื่อการเรียนรู้สำหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา – บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการพิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566 – รายการหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566 – รายการหนังสือที่ผ่านการคัดเลือก – บก.06 – รายงานผลการกำหนดราคากลาง – รายงานการจัดซื้อหนังสือเรียน – เอกสารระบบรูปส้ม – หนังสือเชิญร่วมเสนอราคา – รายละเอียดคุณลักษณะการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน – บัญชีผู้มาขอรับรายละเอียดการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน – ทะเบียนขอยื่นซองเอกสารเสนอราคา – เอกสาร หจก.ทรัพย์เจริญ นานาภัณฑ์ – เอกสาร หจก.ไทยพัฒน์ ศึกษา – รายงานผลการพิจารณาการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน – ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาหนังสือแบบเรียน – ขออนุมัติจัดซื้อหนังสือแบบเรียน – การเชิญทำสัญญาซื้อขายหนังสือแบบเรียน – สัญญาซื้อขาย – ใบวางบิลและใบส่งสินค้า – ใบตรวจรับพัสดุ – ใบเสร็จรับเงิน |
4.3.2 การจัดทำบัญชีวัสดุและทะเบียนคุมทรัพย์สิน | 1. คำสั่ง/บันทึกข้อความแต่งตั้งคณะกรรมการ – คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุ – คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง กรณีพัสดุชำรุด เสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการ – คณะกรรมการขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด 2. บันทึกข้อความเชิญประชุม 3. บันทึกข้อความรายงานผล – รายงานผลการตรวจสอบครุภัณฑ์ – รายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงครุภัณฑ์ที่ชำรุด – รายงานการพิจารณาผลการขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด 4. บันทึกข้อความขอส่งเงินขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด 5. หนังสือรายงานการจำหน่ายพัสดุ 6. ภาพประกอบ – จัดทำบัญชีวัสดุและทะเบียนคุมทรัพย์สินถูกต้องและเป็นปัจจุบัน – มีวัสดุและครุภัณฑ์ถูกต้องตรงตามทะเบียนคุมทรัพย์สิน – มีการบำรุงรักษาพัสดุเพื่อให้มีสภาพพร้อมใช้งาน |
ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ
ประเด็นการพิจารณา | หลักฐานอ้างอิง |
ประเด็นพิจารณาที่ 5 ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ 1. รางวัลสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 |
– ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ |
2. วิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน (Best Practices) | – การจัดการศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน |