การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2566

งานวิชาการ

ประเด็นการพิจารณา หลักฐานอ้างอิง
ประเด็นพิจารณาที่ 1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
3. โครงสร้างเวลาเรียน
4. รายงานผลการพัฒนาหลักสูตร
ประเด็นพิจารณาที่ 1.2 สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. คำสั่งโรงเรียน เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
2. การดำเนินการส่งหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้
3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
4. แบบตรวจสอบคุณภาพหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
5. แบบสังเกตการสอนและการนิเทศการจัดการเรียนรู้
6. รายงานการส่งหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้
7. รายงานการสำรวจข้อมูลการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยใช้กระบวนการ Active Learning
8. ตัวอย่างแบบสังเกตการสอนและการนิเทศการจัดการเรียนรู้
9. แบบอนุมัติใช้หน่วยการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณาที่ 1.3 การผลิต จัดหา ใช้และพัฒนาสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
1.3.1 สถานศึกษามีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต เครื่องมือและอุปกรณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
1.3.2 สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนครูผู้สอนในการผลิต จัดหา และพัฒนาสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
1.3.3 สถานศึกษามีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT
1.3.4 ครูผู้สอนผลิต จัดหา ใช้ และพัฒนาสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
1.3.5 ครูผู้สอนนำการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT มาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน หรือจัดการเรียนรู้ใช้สอนซ่อมเสริม เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
1. แผนการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรม
2. แผนการจัดการเรียนรู้/บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรม การเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน
3. รายงานผลการผลิต จัดหา และพัฒนาสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์การเรียนรู้ ที่หลากหลายของผู้เรียนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
4. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT)
5. ตัวอย่างสื่อ
6. อื่น ๆ (ระบุ)
คำสั่งแต่งตั้งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ปีการศึกษา 2566
ประเด็นพิจารณาที่ 1.4 การส่งเสริมการวัดผล ประเมินผล และนำผลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1. ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน
2. แผนการจัดการเรียนรู้/ บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน
3. ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนระดับชั้นเรียน
4. ศึกษาผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนระดับโรงเรียน
5. โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน และการคิด
6. รายงานการนำผลไปพัฒนา
7. อื่น ๆ (ระบุ)
รายงานข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
รายงานข้อมูลผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายงานข้อมูลผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเด็นพิจารณาที่ 1.5 การส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1. ระเบียบวาระการประชุม
2. รายงานการประชุม
3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2565
4. โครงการพัฒนาการบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา
5. รายงานผลการติดตาม SAR
6. อื่นๆ (ระบุ)
เอกสารแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นพิจารณาที่ 1.6 การส่งเสริมวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อพัฒนางานวิชาการ รายงานผลการวิจัย
ประเด็นพิจารณาที่ 1.7 การนิเทศภายในโรงเรียน 1. การดำเนินการส่งหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้
2. คำสั่งโรงเรียน เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
3. คำสั่งโรงเรียน เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติหน้าที่ตามโครงสร้างบริหารราชการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
4. คำสั่งโรงเรียน เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
5. แบบตรวจสอบคุณภาพหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
6. แบบสังเกตการสอนและการนิเทศการจัดการเรียนรู้
7. รายงานการส่งหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้
8. รายงานการสำรวจข้อมูลการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยใช้กระบวนการ Active Learning
9. ตัวอย่างแบบสังเกตการสอนและการนิเทศการจัดการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณาที่ 1.8 การนิเทศติดตาม ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

ตัวชี้วัด ร่องรอยหลักฐาน
การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม 1. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ /มาตรฐาน และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลาง และการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม หลักสูตรเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ หรือวิธีการสอนที่อื่นที่พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบของผู้เรียน แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
3. มีการวัดและประเมินตามสภาพจริง และมีความหลากหลาย ผลงานนักเรียน
4. มีการบูรณาการชิ้นงาน / ภาระงานภายในสาระวิชา หรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลงานนักเรียน
5. ใช้สื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผลงานนักเรียน
6. มีหน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม หน่วยการเรียนรู้รายวิชาเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
7. มีแผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม แผนการเรียนรู้รายวิชาเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
8. มีการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ด้วย เช่น ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยี เป็นต้น ผลงานนักเรียน
9. มีผลงานนักเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผลงานนักเรียน
การพัฒนาการอ่าน เขียนวิเคราะห์ภาษาไทย การพัฒนาการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ภาษาไทย
1. ใช้เครื่องมือการคัดกรองที่มีความหลายหลาย เช่น เครื่องมือการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของสถาบันภาษาไทย หรือที่โรงเรียนจัดสร้างขึ้น เพื่อดำเนินการประเมินการอ่าน การเขียนการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น 1. ดำเนินการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ตามแนวทางของสถาบันภาษาไทย (คำสั่งโรงเรียน, บันทึกรายงานผลการคัดกรอง, ภาพการดำเนินการ)
2. จัดทำโครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง (ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความโดยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น, บทอ่าน, เกณฑ์การประเมิน, ผลการประเมิน, ภาพสมุดบันทึกการอ่าน)
3. จัดทำโครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงของนักเรียน
(แบบประเมินการอ่านออกเสียงของนักเรียนเป็นรายบุคคล, รายงานวิจัยในชั้นเรียน, PLC)
2. วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ เพื่อเป็นข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้นเป็นรายบุคคล 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
2. โครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน
3. จัดทำแผนพัฒนาและซ่อมเสริมที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
2. โครงการหมอภาษาบดินทรเดชาพัฒนาเยาวชน
4. การจัดทำโครงการกิจกรรมเพื่อแก้ไข/พัฒนาการอ่าน เขียน การคิดวิเคราะห์ภาษาไทย โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
5. ประสานความร่วมมือระหว่างครูภาษาไทยและครูสอนกลุ่มสาระอื่น เพื่อแก้ปัญหาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
6. ดำเนินการส่งสริมกระบวนการการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนในด้านการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
2. แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการโครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
7. ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุน ในด้านการพัฒนาการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนทุกระดับชั้น เช่น กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ เป็นต้น 1. กิจกรรมวันสุนทรภู่และวันภาษาไทยแห่งชาติ (คำสั่ง, ภาพกิจกรรม)
2. กิจกรรมเปิดบ้านการศึกษา บดินทรเดชาวิชาการ (ภาพกิจกรรม)
8. มีระบบการจัดทำสรุปงานเอกสาร โครงการอย่างเป็นระบบ เพื่อการเผยแพร่ บันทึกข้อความรายงานผลการดำเนินการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
การดำเนินการเตรียมรับการประเมินผล PISA
9.การเตรียมความพร้อม จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินการเตรียมความพร้อมนักเรียน เพื่อเตรียมรับการประเมิน ตามแนวทางการสอบ PISA โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
10. ศึกษาผลการประเมิน PISA ในรอบที่ผ่านมา เพื่อนำผลมาพัฒนาปรับปรุง โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
11. วางแผนปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการทดสอบตามแนวทางการทดสอบ PISA โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
12. จัดกิจกรรมกระตุ้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการประเมินผลนักเรียน ตามแนวทางการทดสอบ (PISA) โครงการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง
การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) และ STEM ของผู้เรียน ระบบการบริหารจัดการด้านโค้ดดิ้ง (Coding)
1. วางแผนพัฒนามาตฐานการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) 1. หลักสูตรสถานศึกษา
2. ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด
3. บัญชีสาระและคำอธิบายรายวิชาสาขาเทคโนโลยี
2. พัฒนาและส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) 1. หลักสูตรสถานศึกษา
2. ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด
3. บัญชีสาระและคำอธิบายรายวิชาสาขาเทคโนโลยี
4. แผนการจัดการเรียนรู้
5. ภาพถ่าย
3. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ของครูหรือบุคลากรในสถานศึกษา 1. แบบประเมินการนิเทศการเรียนการสอน
2. ภาพบรรยากศการนิเทศการเรียนการสอน
3. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยีเทียบกับค่าเป้าหมายของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรในสถาน ศึกษาให้มีความรู้ด้านโค้ดดิ้ง(Coding) หรือด้านอื่น ๆ ที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษา คอมพิวเตอร์(Coding) ของผู้เรียน 1. การเข้าร่วมอบรมพัฒนาครู
2. เกียรติบัตร
5. สร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ระหว่างโรงเรียน ชุมชนหรือหน่วยงานอื่น ๆ 1. เกียรติบัตร-ภาพการจัดอบรมครูเทคโนโลยี โรงเรียนวิทยาศาสตร์พลังสิบ เครือข่ายกรุงเทพมหานคร
2. เกียรติบัตร-ภาพการจัดอบรมสร้างเครือข่ายบุคลากรทางการศึกษาด้านหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. โครงการ Robotics, AI, and Coding: RAC ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
4. เกียรติบัตร-ภาพSamsung Innovation Campus – Data Science
5. รายงานการฝึกปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และพบนักวิจัย
6. สร้างและนำนวัตกรรมด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานด้วยสถานการณ์ในชีวิตประจําวัน เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคํานวณ
2. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการจําคําศัพท์โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง คําศัพท์ในเว็บไซต์ Construct 3 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี3 รหัสวิชา ว23184 โดยใช้วิธีการตรวจสอบงานผ่านระบบออนไลน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง แก้ปัญหาผู้เรียนที่ขาดทักษะในการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษา google app script ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาวิทยาการคํานวณ 1 รหัสวิชา ว30181 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
5. รายงานการประเมินทักษะดิจิทัล ปีการศึกษา 2563 2564 และ 2565
7. เกิดผลงานดีเด่นด้านโค้ดดิ้ง(Coding) ของครูหรือนักเรียน เช่น ผลงานระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับชาติ/นานาชาติ และมีการเผยแพร่ 1. รางวัลนักเรียน
2. รางวัลครู
การพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้านโค้ดดิ้ง (Coding)
1. โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ประเภท
1.1 แบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ (Unplugged Coding)
1. ภาพกิจกรรม bomber man ค่ายวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2565
2. ภาพกิจกรรม human machine วิชาปฏิบัติการวิทยาศาสตร์พลังสิบ 1
1.2 แบบใช้คอมพิวเตอร์ (plugged Coding) ประมวลภาพการเรียนการสอนโค้ดดิ้งแบบใช้คอมพิวเตอร์
2. จัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง Coding) ที่มีองค์ประกอบครบถ้วน 1. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การสร้างตัวแปรใน Python
วิชาวิทยาการคำนวณ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ วิชาวิทยาการคำนวณ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง วิชาวิทยาการคำนวณ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา วิชาวิทยาการคำนวณ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
5. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เซ็นเซอร์ตรวจจับเสียง วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
6. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง วิชาวิทยาการคำนวณ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ/เทคนิคการจัดการเรียนรู้ ที่ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน เช่น การจัดการข้อมูล การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบเป็นขั้นตอน เหตุผลเชิงตรรกะ แนวคิดเขิงคำนวณ ประมวลภาพการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย
4. ออกแบบการวัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เครื่องมือการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย
5. เป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการเรียนรู้ด้านโค้ดดิ้ง (Coding) เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) ด้านโค้ดดิ้ง(Coding) ภายในโรงเรียน การเผยแพร่ผลงานภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียน ชุมชนหรือหน่วยงานอื่น ๆ ภายใน สพม.กท 2 หรือ สำนักงานเขตพื้นที่อื่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) ด้านโค้ดดิ้ง (Coding)
ตัวอย่าง PLC
6. พัฒนาตนเองด้าน Coding เช่น การเข้าร่วมอบรมพัฒนาด้านโค้ดดิ้ง (Coding) ในรูปแบบออนไลน์หรือออนไซต์ ข้อมูลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาครู
การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์สู่ Soft Power 1. โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power
2. โรงเรียนเปิดแผนการเรียนด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power
3. โรงเรียนมีการบูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้
4. โรงเรียนมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ
5. ครูผู้สอนจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม หน่วยการเรียนรู้
6. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน/รายวิชาเพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้
7. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning โดยบูรณาการท้องถิ่นด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power แผนการจัดการเรียนรู้
8. ครูผู้สอนมีการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรมการสอนด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power สื่อ และนวัตกรรมการสอน
9. ครูผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สู่ Soft Power ผลงานนักเรียน
การส่งเสริมพหุปัญญาด้านกีฬา รายชื่อกิจกรรมชุมนุม
ข้อมูลครูและบุคลากร กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ภาพผลงานและรางวัล
การขับเคลื่อนกิจกรรม / โครงการพระบรมราโชบาย รัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ ด้านการบริหารโรงเรียน
1. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมืองสู่การบริหารจัดการโรงเรียน แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปีงบประมาณ 2566-2568
การดำเนินงาน โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ประกาศโรงเรียน เรื่อง ประกาศเจตนารมณ์คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ตัวอย่างกิจกรรม
ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
2. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรมสู่การบริหารจัดการโรงเรียน
3. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการมีงานทำ – มีอาชีพ สู่การบริหารจัดการโรงเรียน
4. น้อมนำพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ในด้านการเป็นพลเมืองดี สู่การบริหารจัดการโรงเรียน
5. ผู้บริหารมีนวัตกรรม / โครงการ การปฏิบัติที่เป็นเลิศเรื่อง การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ
ด้านการจัดการเรียนการสอน
6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับวิถีคนดี – มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปีงบประมาณ 2566-2568
การดำเนินงาน โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ประกาศโรงเรียน เรื่อง ประกาศเจตนารมณ์คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ตัวอย่างกิจกรรม
ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับการมีคุณธรรมนำชีวิต – มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม
8. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโซบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับ 1 ห้องเรียน 1 อาชีพ – มีงานทำ – มีอาชีพ
9. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 เกี่ยวกับจิตอาสาด้วยใจ – การเป็นพลเมืองดี
10. การบูรณาการพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 ด้านการศึกษาทั้ง 4 ด้าน ในการจัดการเรียนการสอน เช่น บูรณาการในโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนสุจริต และหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เป็นต้น
11. ครูผู้สอนมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ 10 ในการจัดการเรียนการสอน
การดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
1. แต่งตั้งและกำหนดบทบาทผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน
คำสั่งแต่งตั้งและมอบหมายให้ข้าราชการครูและลูกจ้างปฏิบัติหน้าที่ในส่วนงานทะเบียน/งานวัดผล
2. จัดประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ เพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงาน จัดประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน
จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
จัดประชุมคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน
จัดประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวกับงานวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
3. จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ ขออนุมัติใช้ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) พุทธศักราช 2566
ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) พุทธศักราช 2566
4. กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายภาคของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ แบบรายงานข้อมูลรายวิชาที่เปิดสอน
5. กำหนดแบบฟอร์ม “แผนการวัดและประเมินผล” เพื่อให้ครูผู้สอนนำไปใช้ออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน แบบฟอร์มหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและแผนการจัดการเรียนรู้
6. จัดทำคู่มือหรือแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละองค์ประกอบ คู่มือหรือแนวทางการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
คู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คู่มือหรือแนวทางการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
7. จัดทำหลักฐานร่อยรอยที่แสดงถึงการปฏิบัติหน้าที่ของผู้รับผิดชอบในการดำเนินการ – จัดทำแนวปฏิบัติด้านการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
(1) แนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริมระหว่างเรียน กรณีผู้เรียนมีผลการประเมินตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
(2) แนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีผลการเรียน 0 ร หรือ มส
(3) แนวปฏิบัติในการอนุมัติผลการเรียน
(4) แนวปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน
จัดทำเอกสารหลักฐานร่องรอยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
8. เชื่อมโยงการวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษาสู่การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน – จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินการวัดและประเมินผลให้ครูผู้สอนรับทราบและถือปฏิบัติ
(1) การดำเนินงานตามนโยบายหรือจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัดและของสถานศึกษา
(2) การดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์คุณภาพหรือค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
(3) การดำเนินการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนตามระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
(4) การดำเนินการตามคู่มือหรือแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละองค์ประกอบ
(5) การดำเนินงานตามแนวปฏิบัติหรือปฏิทินที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานด้าน การวัดและประเมินผลของสถานศึกษาที่ครูผู้สอนต้องดำเนินการ
(1) ปฏิทินการส่งแผนการวัดและประเมินผลในแต่ละรายวิชา
(2) ปฏิทินการกรอกคะแนนผ่านระบบ SGS หรือการส่งแบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา
(3) ปฏิทินการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว
(4) ปฏิทินการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อื่น ๆ
9. วิเคราะห์และใช้ผลการประเมินทุกด้านเป็นข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รวบรวมผลการประเมินระดับชั้นเรียนเพื่อสรุปเป็นผลการประเมินระดับสถานศึกษา
พิจารณาตัดสินผลการประเมินรายภาค และการจบการศึกษาแต่ละระดับ
– นำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนไปใช้เป็นข้อมูลในการทบทวนการดำเนินงาน และการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
10. สื่อสารให้ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน – รายงานผลการเรียนในเอกสารหลักฐานการศึกษา
(1) ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1)
(2) ประกาศนียบัตร (ปพ.2)
(3) แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3)
(4) แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา หรือการรายงานผลการเรียนผ่านระบบ SGS
(5) แบบรายงานประจำตัวนักเรียน (สมุดพก)
– รายงานคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
(1) รายงานการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
(2) รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
(3) วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
(4) การประชุมผู้ปกครองหรือการประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง
(5) การให้ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา
เว็บไซต์โรงเรียน
เว็บไซต์สารสนเทศทะเบียนวัดผล
การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศของครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ตอนที่ 1 กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนภาษาต่างประเทศ
1. มีแผนพัฒนาการขับเคลื่อนงานตามนโยบายการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
2. วางแผนดำเนินงานในการเผยแพร่ความรู้ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเน้นให้เห็นความสำคัญของ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) การจัดอบรม/การเข้ารับการอบรม
3. ดำเนินการตามแผนโดยใช้มาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) เป็นกรอบกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ มีแผนงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพตามนโยบายที่สอดคล้องกับปัญหา หรือจุดพัฒนาที่ได้รับการวิเคราะห์ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
4. สนับสนุน และให้ความร่วมมือในการจัดครูผู้สอนภาษาต่างประเทศเข้ารับการทดสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา (CEFR) การอบรมและการจัดสอบ CEFR
5. จัดสภาพแวดล้อม กิจกรรมด้านภาษาอังกฤษ และกระตุ้นให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางด้านภาษา ศูนย์ภาษาอังกฤษ อุปกรณ์โสตฯ
6. สนับสนุนให้ครูผู้สอนภาษาพัฒนาตนเองในรูปแบบวิธีการต่าง ๆ จัดหาอุปกรณ์ สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกในการอบรมตามความเหมาะสม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
7. จัดทำแผนพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษโดยใช้ฐานข้อมูลจากการประเมินความสามารถด้านภาษาในการยกระดับครูทั้งระบบ วิสัยทัศน์ / พันธกิจของโรงเรียน / โครงการ / กิจกรรม
8. จัดให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ที่สอดคล้องกับระดับผล การประเมินความสามารถ และตามรูปแบบการอบรมที่สอดคล้องกับความถนัด แผนพัฒนาตนเองของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
9. กำกับติดตามการประเมินตนเอง / ความก้าวหน้าด้านทักษะภาษาอังกฤษ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ การสอบ CEFR
10. ให้ขวัญกำลังใจแก่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่มี ผลการประเมินทักษะภาษาอังกฤษ หรือการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร รางวัล / เกียรติบัตร
ตอนที่ 2 กระบวนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน
1. ประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจตระหนักแก่ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึงการปรับเปลี่ยนการสอนภาษาจากการเน้นไวยากรณ์เป็นการเน้นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การประชุมคณะทำงานกลุ่มบริหารวิชาการ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
2. บริหารจัดการหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นในด้านโครงสร้าง เวลาเรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเรียนภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศตามระดับความสามารถ หลักสูตรของสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม (รายวิชาภาษาอังกฤษฟัง-พูด, ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)
3. วิเคราะห์ แบบเรียน / สื่อ / แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในการพัฒนาทักษะทางภาษาตามมาตรฐานความสามารถทางภาษา (CEFR) ครูและนักเรียนร่วมกันผลิต สรรหา คัดเลือก แบบเรียน / สื่อตาม Core Curriculum และตามสภาพบริบทความพร้อมของผู้เรียน
4. จัดหาสื่อการเรียนรู้ สื่อการจัดการเรียน การสอน และสื่อฝึกทักษะทางภาษาที่เน้น การสื่อสารทักษะตามธรรมชาติการเรียนรู้ภาษาให้บริการแก่นักเรียน รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่มีคุณภาพสำหรับการเรียนรู้ สื่อ Digital / e-book / learning application
5. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีทักษะการสร้าง และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียน การสอน และสนับสนุนให้ครูร่วมกับนักเรียนผลิตสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี ห้องเรียน DLIT / การใช้เครือข่ายทางสังคม Social networks, Google Classroom
6. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศ กิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศที่สอง และกระตุ้นให้นักเรียนและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศ การเข้าค่ายทางภาษา, Summer Course, การประกวดแข่งขันต่าง ๆ, ป้ายประชาสัมพันธ์, การเพิ่มกิจกรรมการอ่านในและนอกห้องเรียนด้วยเนื้อหาสาระที่หลากหลาย
7. สนับสนุน ส่งเสริม และจัดแข่งขันทักษะทางภาษา รวมทั้งการจัดบรรยากาศการใช้ภาษาต่างประเทศในสถานศึกษา การแข่งขันทั้งภายใน และนอกสถานศึกษา
8. สนับสนุน ส่งเสริม ให้ผู้เรียนในระดับชั้นม.3 และ ม.6 เข้ารับการทดสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา (CEFR) การสอบ CEFR ของผู้เรียนในระดับชั้นม.3 และ ม.6
9. นิเทศ ติดตาม ความก้าวหน้าของครูในการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผลทางภาษาที่เน้นความสามารถในการสื่อสาร การนิเทศการสอน
10. ส่งเสริมให้มีการวิจัย และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการวัดประเมินผลทางภาษาที่เน้นความสามารถในการสื่อสาร งานวิจัยในชั้นเรียน
11. การยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ โครงการห้องเรียนพิเศษ IP / EP / MEP/ EBE/ EIS (ถ้ามี) โครงการห้องเรียนพิเศษ English Program
การจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมในสถานศึกษา 1. โรงเรียนได้บริหารจัดการการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมโดยใช้โครงสร้าง SEAT/SBM รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ
2. มีครูผ่านการอบรมคัดกรองสำหรับการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมอย่างน้อย 2 คน รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ
3. โรงเรียนมีการคัดกรองนักเรียนเพื่อการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมทุกปีการศึกษา รายงานการดำเนินงานการจัดการศึกษาพิเศษ
4. นักเรียนกลุ่มพิเศษเรียนรวมทุกคนเข้าถึงบริการ การเรียนการสอนและสื่อทุกประเภทที่โรงเรียนจัดให้
5. โรงเรียนได้จัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวม
6. ครูทุกคนที่สอนนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมได้จัดทำแผนการสอนเฉพาะบุคคล (Individual Implementation Plan : IIP)
7. มีการจัดสรรงบประมาณที่โรงเรียนได้รับสนับสนุนเพียงพอ
8. โรงเรียนได้จัดทำมาตรฐานการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวมเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
9. โรงเรียนมีบริการส่งต่อนักเรียนกลุ่มการจัดการศึกษาพิเศษเรียนรวม
9.1 เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
9.2 เพื่อประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ
การพัฒนากระบวนการดำเนินการจัดกิจกรรมแนะแนว 1. การบริการปรึกษาและข้อมูลเป็นรายบุคคล
1.1 การดำเนินการสำรวจข้อมูลเป็นรายบุคคล ระเบียนสะสม (ปพ.8)
1.2 การศึกษาสำรวจและวิเคราะห์ปัญหานักเรียนรายกรณี แบบบันทึกรายกรณี
1.3 การใช้เครื่องมือและวิธีต่าง ๆ ในการสำรวจข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล – แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์(EQ)
– แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ)
– แบบประเมินบุคลิกภาพ (MBTI)
– แบบประเมินบุคลิกภาพกับอาชีพ (SDS)
– แบบประเมินพหุปัญญา (MI)
1.4 การรวบรวมข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนไว้ในระเบียนสะสม ระเบียนสะสม (ปพ.8)
1.5 การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนทุกคนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ครูได้รู้จักนักเรียนดีขึ้น ระเบียนสะสม (ปพ.8)
1.6 การจัดให้นักเรียนเขียนอัตชีวประวัติของตนเอง ระเบียนสะสม (ปพ.8)
1.7 การจัดทำแบบทดสอบทางจิตวิทยาแก่ผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ระเบียนสะสม (ปพ.8)
1.8 การเยี่ยมบ้านและสัมภาษณ์สมาชิกในบ้านเพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนอย่างครบถ้วน แบบรายงานการเยี่ยมบ้าน
2. การบริการสนเทศ
2.1 การให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ที่จำเป็นเพื่อการตัดสินใจ – บอร์ดสารสนเทศ
– เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา
2.2 การนำเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้ที่จำเป็นและเหมาะสมแก่นักเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รายการเสียงตามสายของโรงเรียน เป็นต้น – บอร์ดสารสนเทศ
– เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา
2.3 การนำเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้ที่ให้เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการของนักเรียน
2.4 การจัดมุมสนเทศ บริการข้อมูลทางการศึกษา อาชีพ ส่วนตัว และสังคมให้แก่นักเรียน – บอร์ดสารสนเทศ
– เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา
2.5 การจัดป้ายสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่จำเป็นและทันสมัยแก่นักเรียน – บอร์ดสารสนเทศ
– เพจ Facebook งานแนะแนวและการให้คำปรึกษา
2.5 การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับโลกของงาน การรักษาสุขภาพ การศึกษาต่อ ฯลฯ รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
2.6 เชิญวิทยากร หรือผู้ประสบความสำเร็จในอาชีพต่าง ๆ มาให้ความรู้เกี่ยวกับนักเรียน รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
2.7 จัดทัศนศึกษาตามสถาบันการศึกษา และแหล่งเรียนรู้อาชีพ การร่วมจัดปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ เพื่อให้สามารถปรับตัวอยู่ในสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ ได้ รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
รายงานการฝึกประสบการณ์
2.8 การจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศเพื่อให้นักเรียนได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาแด่คุณครู รายงานการดำเนินพิธีมอบเกียรติบัตร ม.6
3. การบริการให้คำปรึกษา
3.1 การจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาแก่นักเรียนในช่องทางต่าง ๆ ภาพประชาสัมพันธ์การให้คำปรึกษา
3.2 การสำรวจปัญหาเพื่อให้คำปรึกษา แบบลงทะเบียนการขอรับบริการให้คำปรึกษา
3.3 การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.4 มีแบบบันทึกข้อมูลการให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่มแก่นักเรียน รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.5 สามารถพูดคุยให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.6 ให้การชี้แนะส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียนด้านการศึกษา ด้านการประกอบอาชีพ และปฏิบัติตนในสังคม รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.7 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.8 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน เพื่อร่วมมือแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.9 มีผลการดำเนินการตามขั้นตอน ระยะเวลาและวิธีการที่ใช้ในการบริการให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.10 การติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เคยให้คำปรึกษา บันทึกข้อความการติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียน
3.11 มีผลการดำเนินการตามขั้นตอน ระยะเวลาและวิธีการที่ใช้ในการบริการให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล รายงานผลการดำเนินกิจกรรมการให้คำปรึกษาตามรูปแบบ PDCA
3.12 สามารถพูดคุยให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.13 ให้การชี้แนะส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักเรียนด้านการศึกษา ด้านการประกอบอาชีพ และปฏิบัติตนในสังคม รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.14 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
3.15 การปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน เพื่อร่วมมือแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายบุคคลการติดตามดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เคยให้คำปรึกษา รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษา
4. การบริการจัดวางตัวบุคคล
4.1 การจัดบริการจัดทุนการศึกษาประเภทต่าง ๆ ให้นักเรียน รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา
4.2 การพิจารณาคัดเลือกนักเรียนเข้ารับทุนการศึกษาการจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนตามความเหมาะสม รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา
4.3 การจัดนักเรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความถนัดหรือที่สนใจ รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
รายงานการฝึกประสบการณ์
4.4 การจัดบริการข้อมูลการศึกษาต่อแก่นักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้เลือกสาขาที่จะศึกษาต่อที่เหมาะสมกับความถนัดของนักเรียน รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
– รายงานผลการจัดกิจกรรมแนะแนวเตรียมความพร้อม ม.6
– ภาพศึกษาดูงาน Open house มหาวิทยาลัย
4.5 การจัดส่งตัวนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพหรือมีความผิดปกติได้รับการบำบัดรักษา บันทึกข้อความประสานความร่วมมือ
4.6 ส่งเสริมช่วยเหลือนักเรียนให้มีรายได้พิเศษระหว่างเรียน กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง B.D. Sufficiency Economy Point
4.7 ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่นทำงานพิเศษ ระหว่างปิดภาคเรียน -กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง B.D. Sufficiency Economy Point
รายงานการฝึกประสบการณ์
4.8 การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดวางตัวบุคคล รายงานสรุปผลการดำเนินงานทุนการศึกษา
กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
– รายงานการประชุมนักเรียนและผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖
รายงานการฝึกประสบการณ์
รายงานผลการจัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ
– ภาพการแนะแนวศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
5. การบริการติดตามและประเมินผล
5.1 นำข้อมูลที่ได้จากการติดตามผลไปใช้ในการประเมินผลการให้บริการแนะแนวด้านต่าง ๆ รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.6
5.2 การติดตามผลนักเรียนที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน หนังสือเเจ้งรับนักเรียนเข้าเรียนจากโรงเรียนปลายทาง
5.3 การติดตามผลนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.6
5.4 การติดตามผลนักเรียนที่มารับบริการแนะแนวเป็นรายบุคคล รายงานการติดตามผลนักเรียนชั้น ม.3 และ ม.6
5.5 ติดตามศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษามาแนะนำเกี่ยวกับวิธีการเรียนให้นักเรียนประสบความสำเร็จ ภาพกิจกรรมพี่แนะแนวน้อง
5.6 การสอบถามความคิดเห็นของครูและนักเรียนเกี่ยวกับบริการแนะแนวต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว
5.7 การประเมินผลระหว่างดำเนินงานและการประเมินผลเมื่อการดำเนินงานสิ้นสุดลง รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว
5.8 การประเมินผลการจัดบริการแนะแนวด้านต่าง ๆ เพื่อทำสถิติเปรียบเทียบและปรับปรุงเพื่อพัฒนางานแนะแนวต่อไป รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว
5.9 จัดกล่องรับความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการแนะแนว แบบรับความคิดเห็นรูปแบบ Online
5.10 นำผลการดำเนินการมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานต่อไป รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจการรับบริการแนะแนว

งานบุคคล

ประเด็นการพิจารณา หลักฐานอ้างอิง
ประเด็นพิจารณาที่ 2.1 การวางแผนอัตรากำลัง 1. ข้อมูลสารสนเทศด้านอัตรากำลังของสถานศึกษา
รายละเอียดอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาสังกัด สพม.กท 2
บัญชีถือจ่ายเงินเดือนข้าราชการ (จ.18)
ตารางวิเคราะห์อัตรากำลังปีการศึกษา 2565 และ 2566
ตารางแสดงมาตรฐานวิชาเอกที่กำหนดให้มีในสถานศึกษา 2565
2. ข้อมูลสรุปภาระงานการสอน จำแนกเป็นรายวิชา
คำสั่งโรงเรียน ฯ เรื่องมอบหมายการปฏิบัติหน้าที่การสอนของข้าราชการครูและบุคลากร (สายการสอน)
ตารางสอน
ประเด็นพิจารณาที่ 2.2 การส่งเสริมและพัฒนา ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา 1. ข้อมูลสารสนเทศด้านอัตรากำลังของสถานศึกษา
รายละเอียดอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาสังกัด สพม.กท 2
บัญชีถือจ่ายเงินเดือนข้าราชการ (จ.18)
ตารางวิเคราะห์อัตรากำลังปีการศึกษา 2565 และ 2566
ตารางแสดงมาตรฐานวิชาเอกที่กำหนดให้มีในสถานศึกษา 2565
2. ข้อมูลสรุปภาระงานการสอน จำแนกเป็นรายวิชา
คำสั่งโรงเรียน ฯ เรื่องมอบหมายการปฏิบัติหน้าที่การสอนของข้าราชการครูและบุคลากร (สายการสอน)
ตารางสอน
3. อื่น ๆ (ระบุ)
ภาพประกอบ

งานทั่วไป

ประเด็นการพิจารณา หลักฐานอ้างอิง
ประเด็นพิจารณาที่ 3.1 การส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา 1. กระบวนการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2. รายงานผลการประเมิน SDQ
3. แบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม การพัฒนาความเข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
4. ผลการประเมินการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประเด็นพิจารณาที่ 3.2 การประสาน ส่งเสริมให้ชุมชน ท้องถิ่น และสังคม มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งเป็นเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เช่น การทำ MOU การเป็นวิทยากร การจัดหาผ้าป่าโรงเรียน การจัดตั้งกองทุน การแข่งขันกีฬานักเรียน เป็นต้น 1. คำสั่งโรงเรียน
2. รายละเอียดโครงการ
3. หนังสือเชิญวิทยากร
4. เอกสารประชาสัมพันธ์
5. ภาพประกอบ
6. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
ประเด็นพิจารณาที่ 3.3 สถานศึกษา มีการพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 1. รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา (Big Data) ปีการศึกษา 2565
2. คำสั่งแต่งตั้งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ปีการศึกษา 2566
3. สารสนเทศ ปีการศึกษา 2565
4. แหล่งข้อมูลสารสนเทศหลากหลายรูปแบบ เช่น
เว็บไซต์โรงเรียน
เว็บไซต์ทะเบียนวัดผล
– เว็บไซต์บริหารจัดการบัญชีผู้ใช้เครือข่่าย
เว็บไซต์คลังคำสั่ง
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน NextSchool
เว็บไซต์ห้องสมุดโรงเรียน
– ระบบประเมินผลการเรียน
ระบบประเมินครูผู้สอนโดยนักเรียน
– ระบบจัดการงานพัสดุ เป็นต้น
ประเด็นพิจารณาที่ 3.4 มีการดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ น่าเรียน (สภาพจริง) โครงการพัฒนาอาคารสถานที่เพื่อจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตในสถานศึกษา
การดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์อนุสาวรีย์ฯ
ปรับปรุง ซ่อมแซม สระว่ายน้ำ
รายงานผลการดำเนินการโครงการติดตั้งโซล่าเซลล์
สรุปรายงานการแจ้งซ่อมเครื่องปรับอากาศ
สรุปรายงานการแจ้งซ่อมงานช่างทั่วไป
การดำเนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา
กิจกรรมต่าง ๆ
ประเด็นพิจารณาที่ 3.5 มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง 1. คำสั่งที่ 198/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี 2565
2. รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ 2565
3. บันทึกข้อความขอเชิญประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานควบคุมภายใน ปีการศึกษา 2565
4. รายงานการประชุมคณะกรรมการงานควบคุมภายใน ปีการศึกษา 2565 ครั้งที่ 1/2565
5. หนังสือที่ ศธ 04291.18/1112 ลงวันที่ 30 กันยายน 2565 เรื่อง การจัดส่งรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565
6. แบบประเมินตนเองด้านการควบคุมภายในหน่วยงาน
7. ภาพการประชุมคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปี 2565

งานงบประมาณ

ประเด็นการพิจารณา หลักฐานอ้างอิง
ประเด็นพิจารณาที่ 4.1 การบริหารทางการเงินให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงิน 1. คำสั่งการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
2. แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
3. รายงานการใช้งบประมาณตามแผนงบประมาณปี 2566 ไตรมาสที่ 1-2
4. รายงานการประเมินผลตามโครงการ/กิจกรรม
ประเด็นพิจารณาที่ 4.2 การบริหารการเงินและบัญชี 1. ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน
2. ทะเบียนคุมเงินประเภทต่าง ๆ
3. สมุดคุมเช็ค
4. สมุดเงินสด
5. รายงานเงินสดคงเหลือประจำวัน
6. รายงานงบเดือน
7. สมุดบันทึกรายรับ รายจ่าย ประจำวัน
8. อื่นๆ (ระบุ)
– ทะเบียนคุมการนำส่งเงิน(นส01นส02-1)
– ทะเบียนคุมการเบิกจ่าย(GFMIS)
– ทะเบียนคุมเงินจ่ายทดรองราชการ
– ทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ
– ทะเบียนคุมเงินรายรับรายจ่ายแยกประเภท
ประเด็นพิจารณาที่ 4.3 การบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์
4.3.1 การจัดซื้อ จัดจ้าง (หนังสือเรียน)
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
– คำสั่งที่ 334/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566
– คำสั่งที่ 70/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
– คำสั่งที่ 85/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีคัดเลือก
2. ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
3. รายงานการประชุม
– รายงานผลการประชุมคณะกรรมการพิจารณาหนังสือเรียน
– รายงานผลการประชุมคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
– รายงานผลการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. เอกสารหลักฐานอื่น ๆ
– การเผยแพร่สื่อการเรียนรู้สำหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา
– บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการพิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566
– รายการหนังสือเรียน ปีการศึกษา 2566
– รายการหนังสือที่ผ่านการคัดเลือก
– บก.06
– รายงานผลการกำหนดราคากลาง
– รายงานการจัดซื้อหนังสือเรียน
– เอกสารระบบรูปส้ม
– หนังสือเชิญร่วมเสนอราคา
– รายละเอียดคุณลักษณะการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน
– บัญชีผู้มาขอรับรายละเอียดการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน
– ทะเบียนขอยื่นซองเอกสารเสนอราคา
– เอกสาร หจก.ทรัพย์เจริญ นานาภัณฑ์
– เอกสาร หจก.ไทยพัฒน์ ศึกษา
– รายงานผลการพิจารณาการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน
– ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาหนังสือแบบเรียน
– ขออนุมัติจัดซื้อหนังสือแบบเรียน
– การเชิญทำสัญญาซื้อขายหนังสือแบบเรียน
– สัญญาซื้อขาย
– ใบวางบิลและใบส่งสินค้า
– ใบตรวจรับพัสดุ
– ใบเสร็จรับเงิน
4.3.2 การจัดทำบัญชีวัสดุและทะเบียนคุมทรัพย์สิน 1. คำสั่ง/บันทึกข้อความแต่งตั้งคณะกรรมการ
– คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุ
– คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง กรณีพัสดุชำรุด เสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการ
– คณะกรรมการขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด
2. บันทึกข้อความเชิญประชุม
3. บันทึกข้อความรายงานผล
– รายงานผลการตรวจสอบครุภัณฑ์
– รายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงครุภัณฑ์ที่ชำรุด
– รายงานการพิจารณาผลการขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด
4. บันทึกข้อความขอส่งเงินขายซากครุภัณฑ์ที่ชำรุด
5. หนังสือรายงานการจำหน่ายพัสดุ
6. ภาพประกอบ
– จัดทำบัญชีวัสดุและทะเบียนคุมทรัพย์สินถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
– มีวัสดุและครุภัณฑ์ถูกต้องตรงตามทะเบียนคุมทรัพย์สิน
– มีการบำรุงรักษาพัสดุเพื่อให้มีสภาพพร้อมใช้งาน

ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ

ประเด็นการพิจารณา หลักฐานอ้างอิง
ประเด็นพิจารณาที่ 5 ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ
1. รางวัลสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565
ผลงาน รางวัล ความภาคภูมิใจ
2. วิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน (Best Practices) การจัดการศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน